วันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2556

การเขียนกระทู้ ธรรมศึกษาเอก




การเขียนกระทู้ธรรมชั้นเอก


โครงสร้างกระทู้ธรรมเอกโดยหลักการแล้วไม่มีอะไรที่แตกต่างไปจากของตรีและโทเลยนะครับ แต่ในชั้นธรรมศึกษาเอกนี้ต้องนำสุภาษิตอื่นมาอธิบายประกอบ 3 สุภาษิตและเชื่อมความได้ดีกับสุภาษิตบทตั้งตามหลักเกณฑ์การเขียนกระทู้ธรรมเอกครับ ดังนั้นผมจึงไม่ขออธิบายอะไรมากนอกจากการนำเสนอโครงสร้างการเขียนกระทู้ธรรมเอกไว้ในบทความนี้
รูปแบบการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ธ.ศ.เอก  

      สุภาษิตตั้ง (เข้ากลางหน้ากระดาษ)
      คำแปล     (เข้ากลางหน้ากระดาษ)

                     บัดนี้  จักได้อธิบายขยายความตามพุทธศาสนภาษิตที่ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น  พอเป็น
แนวทางในการศึกษาและปฏิบัติแก่พุทธศาสนิกชนสืบต่อไป
                     อธิบายสุภาษิตตั้ง .........................................................(๑๐  - ๑๕  บรรทัด )...........    
........... สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิตเชื่อม )   ว่า
                 ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๑ )
                 คำแปล
                    อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐   บรรทัด)...............
............สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิตเชื่อม )   ว่า
( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๒ )
คำแปล
                    อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐   บรรทัด)...............
............สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิตเชื่อม )   ว่า
                       ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๓ )
                          คำแปล
                    อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐   บรรทัด)...............
...........................................................................................................
                   สรุป.......(  ๕ - ๘ บรรทัด ).....................................................................................
......................................สมดังสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า
                       พุทธศาสนสุภาษิตตั้ง
                         คำแปล
 ดังได้อธิบายมาด้วยประการ ฉะนี้









2 ความคิดเห็น: